คณะสาธารณสุขศาสตร์

ปัญญาสาธารณสุข เสริมพลัง"ปัญญาของแผ่นดิน" ตามปณิธานของมหาวิทยาลัยมหิดล

วันพุธที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2553

Healthy Faculty indicators

ตัวชี้วัด
1. ระดับสถาบัน
แนวคิด
1.1 ร้อยละของบุคลากรคณะสาธารณสุขศาสตร์มีแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพที่ดี
1.2 ร้อยละของบุคลากรคณะสาธารณสุขศาสตร์มีแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพถูกต้อง
1.3 ร้อยละของนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร์มีแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพที่ดี
1.4 ร้อยละของนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร์มีแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพถูกต้อง
พฤติกรรม
1.5 ร้อยละของบุคลากรคณะสาธารณสุขศาสตร์มีพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพที่ดี
1.6 ร้อยละของบุคลากรคณะสาธารณสุขศาสตร์มีพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพถูกต้อง
1.7 ร้อยละของนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร์มีพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพที่ดี
1.8 ร้อยละของนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร์มีพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพถูกต้อง
สิ่งแวดล้อม
1.9 สิ่งแวดล้อมทางกายภาพและสังคมภายในคณะ เอต่อการสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากร
1.10 สิ่งแวดล้อมทางกายภาพและสังคมภายในคณะ เอต่อการสร้างเสริมสุขภาพของคณะ
2. ระดับเครือข่าย
2.1 เครือข่ายย่อยและสถาบันการศึกษาใกล้เคียงอย่างน้อย 1 เครือข่าย ร่วมมือกันพัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพของคณะ
2.2 เครือข่ายย่อยและสถาบันการศึกษาใกล้เคียงอย่างน้อย 1 เครือข่าย ร่วมมือกันพัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพของชุมชน
3. ระดับชุมชน
3.1 ชุมชนใกล้เคียงที่สถาบันให้การดูแลมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีขึ้น
4. ระดับกิจกรรม
โรงอาหารต้นแบบ
4.1 แบบจำลองของโรงอาหารเพื่อสุขภาพ
4.2 ผลการดำเนินการตามโครงการแผนพัฒนาโรงอาหารต้นแบบเพื่อสุขภาพ ตามความต้องการของกลุ่มผู้บริหาร ผู้ให้บริการ และผู้รับบริการ
เสริมสร้างวิถีชีวิตแบบไทย ๆ จิตผ่อง กายพร้อม สิ่งแวดล้อมเสริมสุข
4.3 คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ทุกระดับ นักศึกษาของคณะสาธารณสุขศาสตร์ และบุคคลที่เจ็บป่วยสร้างเสริมสุขภาพการรับประทานอาหารวิถีชีวิตแบบไทย ๆ
การจัดการความรู้การสร้างเสริมสุขภาพของคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และการถ่ายทอดความรู้สู่สถาบันเครือข่ายและชุมชน
4.4 ร้อยละของคลังความรู้ที่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา
4.5 จำนวนครั้งที่เผยแพร่ความรู้
จัดการความรู้ สร้างกระแสสังคมและการชี้แนะสาธารณะ
4.6 ระดับความสำเร็จของชุมชนคนออกกำลังกายโดยแอโรบิคให้เกิดพลังอำนาจในการสร้างสุขภาพที่ยั่งยืน 4.7 ร้อยละของชุมชนคนออกกำลังกายโดยแอโรบิคเข้ารับการตรวจสมรรถภาพทางกาย เมื่อเทียบกับสมาชิกคนออกกำลังกาย ณ สวนสันติภาพทั้งหมด
นวัตกรรมสุขภาพชุมชน
4.8 จำนวนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ขับเคลื่อนนโยบายพัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพ
4.9 ต้นแบบการสร้างเสริมสุขภาพในบุคลากรของคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล